HPV DNA Testing
FluA FluB RSV PCR Testing
Covid-19 by RT-PCR
BRAF Mutation Test
KRAF Mutation Test
EGFR Mutation Test
BRCA1/2 Mutation Test
บริการตรวจยีนกลายพันธุ์ในกลุ่ม โรคมะเร็ง
BRCA1/2 Mutation Test
KRAS Mutation Test
BRAF Mutation Test
EGFR Mutation Test
ใครควรที่จะตรวจคัดกรองมะเร็ง?
สมาชิกครอบครัวมีประวัติป่วยเป็นมะเร็ง
ผู้ที่เคยได้รับเชื้อไวรัส/แบคทีเรีย
ผู้ที่รับสัมผัสสารเคมี บุหรี่
ผู้ที่สัมผัสรังสีเป็นประจำ
บริการตรวจโรคติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ
FluA FluB RSV PCR Testing
Covid – 19 by RT-PCR
เชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่และเชื้อไวรัสอาร์เอสวี
เป็นกลุ่มเชื้อไวรัสโรคติดต่อทางระบบทางเดินหายใจ
Influenza Virus และ Respiratory Syncytial Virus เป็นกลุ่มเชื้อไวรัสโรคติดต่อทางระบบทางเดินหายใจ
พบได้บ่อยในเด็กเล็กที่มีอายุน้อยกว่า 5 ปี ซึ่งหากไม่ได้รับการตรวจสอบและรักษาอย่างเท่าทันอาจเกิดภาวะแทรกซ้อนของโรคอื่นๆได้แก่ โรคปอดอักเสบ และโรคสมองอักเสบ
อาการเมื่อติดเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่
มีไข้ขึ้นสูง
มีน้ำมูกใส
ไอแห้ง
ปวดศีรษะ
ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ
อาการเมื่อติดเชื้อไวรัสอาร์เอสวี
มีไข้ต่ำ
เจ็บคอ
หายใจเร็วลำบาก
คัดจมูก
ไอรุนแรงและหายใจมีเสียงหวีด
บริการตรวจความเสี่ยงโรคมะเร็งสำหรับสุภาพสตรี
HPV DNA Testing
BRCA1/2 Mutation Test
การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก มีกี่วิธี ?
การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกมีวิธีตรวจอยู่ 3 วิธี คือ
1. Pap Smear
เป็นการป้ายเซลล์บนสไลด์ มีโอกาสผิดพลาดจาก Human Error มากกว่าวิธีอื่น
2. Liquid Based Cytology
เป็นการเก็บเซลล์ในน้ำยาและทำการแยกสิ่งเจือปนที่ไม่จำเป็นออก
มีความแม่นยำมากกว่า Pap Smear
3. HPV DNA Testing
เป็นการตรวจหาเชื้อ HPV ระดับพันธุกรรมที่แฝงตัวอยู่ในร่างกาย มีโอกาสก่อให้เกิดมะเร็งปากมดลูก มีความแม่นยำสูง
ทำไมต้องตรวจคัดกรองเชื้อเอชพีวี?
รู้เท่าทันภัยมะเร็งปากมดลูก ด้วยการตรวจแบบเจาะลึก HPV DNA Testing
มะเร็งปากมดลูก
ส่วนใหญ่มีสาเหตุจากการติดเชื้อไวรัส HPV (Human Papilloma Virus) ซึ่งติดต่อได้ทางเพศสัมพันธ์และการสัมผัส มักพบเชื้อได้ที่บริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
ของผู้หญิงบริเวณปากมดลูกและช่องคลอด
การตรวจคัดกรองหาเชื้อไวรัสเอสพีวีด้วยเทคนิค HPV DNA Testing เป็นการตรวจที่มีความแม่นยำสูงลงลึกระดับ DNA ที่ครอบคลุมมากกว่า 18 สายพันธุ์ความเสี่ยงสูงในการก่อมะเร็งปากมดลูก โดยสายพันธุ์ 16 และ 18 เป็นสาเหตุสำคัญของมะเร็งปากมดลูก
ผู้หญิงควรตรวจตั้งแต่อายุ 30-60 ปี และควรตรวจซ้ำทุกๆ 5 ปี
**อ้างอิงจาก National cancer institute Guideline
BRCA 1/2
BRCA 1/2 คืออะไร?
ใครตรวจตรวจยีน BRCA 1/2?
- ในประชากรปกติ มีโอกาสที่จะเกิดเป็นโรคมะเร็งเต้านมประมาณ 12%
- ในกลุ่มที่มีความผิดปกติของยีน BRCA1/2 จะมีโอกาสเป็นมะเร็งเต้านมถึง 60% ซึ่งมีความเสี่ยงสูงกว่าประชากรปกติถึง 5 เท่า
- ดังนั้นในสุภาพสตรีทุกคนควรทราบถึงการกลายพันธุ์ของยีน BRCA1/2 เพื่อเตรียมความพร้อมลดเสี่ยงการเป็นโรคมะเร็งเต้านมในอนาคต